60 ปี มช. ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมสู่ Innovation University
LOCATION : วันที่ 9 ธันวาคม 2567 @สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, วันที่ 11 ธันวาคม 2567 @หอประชุมออดิทอเรียม (Rice Grain Auditorium) และ NSP Exhibition Hall อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ครบรอบ 60 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัย
สมัครส่งผลงานเข้าแข่งขันLOCATION : วันที่ 9 ธันวาคม 2567 @สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, วันที่ 11 ธันวาคม 2567 @หอประชุมออดิทอเรียม (Rice Grain Auditorium) และ NSP Exhibition Hall อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สมัครส่งผลงานเข้าแข่งขัน
1 ต้นฉบับพิมพ์เป็นภาษาไทย การใช้ภาษาไทยให้ยึดหลักการใช้คำศัพท์และการเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ตามหลักของราชบัณฑิตยสถานให้หลีกเลี่ยง การเขียน ภาษาอังกฤษปนภาษาไทยในข้อความ ยกเว้นกรณีจำเป็น เช่นศัพท์ทางวิชาการที่ไม่มีคำแปล หรือคำที่ใช้แล้วทำให้เข้าใจง่ายขึ้น คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เขียนปนภาษาไทยให้ใช้ตัวเล็กทั้งหมดยกเว้นชื่อเฉพาะ
2 ขนาดของต้นฉบับ ใช้กระดาษขนาด A4 ตัวหนังสือแบบ TH SarabunPSK และพิมพ์โดยเว้นระยะห่างจากขอบกระดาษด้านละ 1 นิ้ว โดยมีระยะห่างระหว่างบรรทัด เป็นแบบ single space (หนึ่งเท่า)
3 ชื่อเรื่องใช้ตัวอักษรขนาด 18 pt. ตัวหนา
4 หัวข้อ (ถ้ามี) ใช้ตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวหนา
5 ใช้ตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวปกติ
6 การส่งต้นฉบับ ผู้เสนอผลงานจะต้องส่งต้นฉบับ Proposal แบบพิมพ์ ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์แบบ ".pdf" (PDF file) ขนาดไม่เกิน 20 MB และไฟล์นำเสนอ แบบ ".pdf" (PDF file) ขนาดไม่เกิน 20 MB
7 จำนวนหน้าความยาวของบทความ Proposal ไม่ควรเกิน 10 หน้า (รวมตาราง รูปภาพ และเอกสารอ้างอิง)
ทางผู้จัดงานจะมีการประกาศผลรายชื่อผลงานที่ผ่านคัดเลือกในรอบที่ 1 เพื่อนำเสนอในวันที่ 9 ธันวาคม 2567 ให้ทราบอีกครั้ง
สอบถามเพิ่มเติม : กองทรัพยากรทุนมนุษย์ โทร 053=941312
หัวข้อใน Poster
1 ให้มีส่วนประกอบของ
- ชื่อเรื่อง/แนวปฏิบัติ
- แนวปฏิบัติที่ดีในด้าน
- ชื่อผู้จัดทำ
- สังกัดหน่วยงาน, ส่วนงาน
2 บทนำ/ที่มาและความสำคัญ
3 วัตถุประสงค์
4 วิธีการ/กระบวนการ
5 แผนการดำเนินงาน / การนำไปใช้
6 วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญ
การส่งผลงาน Poster
1 ใช้ template ที่มหาวิทยาลัยกำหนดให้ในการจัดทำผลงาน (ขนาด กว้าง 90 cm x 140 cm) โดยอัพโหลดผลงาน Poster ไฟล์ประเภท pdf ขนาดไม่เกิน 20 MB
ทางผู้จัดงานจะมีการประกาศผลรายชื่อผลงานที่ผ่านคัดเลือกในรอบที่ 1 เพื่อจัดแสดงผลงานในวันที่ 11 ธันวาคม 2567 (โดยไม่มีการนำเสนอในวันงาน) ให้ทราบอีกครั้ง
สอบถามเพิ่มเติม : กองทรัพยากรทุนมนุษย์ โทร 053=941312
กลุ่มที่ 1 : 30 ผลงาน
กลุ่มที่ 2 : 15 ผลงาน
กลุ่มที่ 3 : 4 ผลงาน
กลุ่มที่ 1 : 162 ผลงาน
กลุ่มที่ 2 : 36 ผลงาน
กลุ่มที่ 3 : 9 ผลงาน
Certified Trainer ผู้มีประสบการณ์ 19 ปี จากบริษัทญี่ปุ่นระดับโลกและทำงาน ในประเทศญี่ปุ่นนานถึง 2 ปี ผ่านการฝึกสอนมากกว่า 20 บริษัทในเครือ Toyota ทั่วโลก
ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญาตรีวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Japanese Language Proficiency Test ระดับ N2
Certified Trainer by Toyota Institute Asia Pacific Systematic Planning (PDCA)
• ประสบการณ์ 19 ปี ในหน่วยงานวางแผนการจัดซื้อ บริษัท โตโยต้า
• ประสบการณ์ทำงานในประเทศญี่ปุ่น 2 ปี
• อาจารย์สอนที่ประเทศญี่ปุ่น ให้กับบริษัทในเครือโตโยต้า ทั่วโลกกว่า 20 บริษัท
• กรรมการตัดสินรอบชิงชนะเลิศ การพัฒนาบุคลากรในสายการผลิตของชมรมความร่วมมือโตโยต้า (Human Resource Development of TOYOTA COPORATION CLUB)
• Project Director โครงการบริหารจัดการน้ำ โดยชุมชนตามแนวพระราชดำริ โดยกระทรวงศึกษาธิการ
• ประชุมระดับโลกร่วมกับประเทศสหรัฐอเมริกา,ประเทศแคนาดา และประเทศอินเดีย
• นักเขียน หนังสือ Critical thinking for Reason decision making
• ถอดบทเรียนปฎิบัติการถํ้าหลวง, การสร้างภาพยนต์ National Geography, และหลักสูตรชลกร
• นักเขียน หนังสือ Productivity Improvement (Toyota Production System : TPS)
วันที่ 9 ธันวาคม 2567 | สถานที่ : สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วันที่ 11 ธันวาคม 2567 | สถานที่ : หอประชุมออดิทอเรียม (Rice Grain Auditorium) และ NSP Exhibition Hall อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สนับสนุนการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ การบริหารจัดการงาน เงินและคน
สนับสนุนการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ การบริหารจัดการงาน เงินและคน
การพัฒนาองค์กรแห่งความสุข องค์กรสุขภาพ และองค์กรคุณธรรม